จ่าย ภาษี ประ จํา ปี

  1. 0702/5922 | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)
  2. จ้างผู้สูงอายุ สร้างงานช่วยประหยัดภาษี

1 ต้องมีอายุ 60 ปี ขึ้นไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ 1. 2 ต้องมีสัญชาติไทยเท่านั้น (แรงงงานต่างด้าวจึงไม่สามารถใช้สิทธิได้) 1. 3 ผู้สูงอายุที่จะเข้าทำงานจะเป็นลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จ้างอยู่ก่อนแล้ว เช่น เกษียณอายุงานและบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นจ้างให้ทำงานต่อ เป็นต้น หรือเป็นผู้สูงอายุที่ได้ขึ้นทะเบียนหางานไว้กับกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ก็ได้ 1. 4 ผู้สูงอายุที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลรับเข้าทำงาน ต้องไม่เป็นและไม่เคยเป็นกรรมการหรือผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จ้างผู้สูงอายุดังกล่าว หรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน กรณีดังกล่าว กฎหมายมีเจตนาให้เจ้าของกิจการจ้างบุคคลอื่นที่ไม่ใช่กรรมการหรือผู้ถือหุ้นของตนเองเข้าทำงาน เพื่อประโยชน์ในการสร้างแรงงานและป้องกันการวางแผนภาษีอากรอีกประการหนึ่งด้วย หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประสงค์สิทธิประโยชน์ทางภาษีต้องปฏิบัติตาม 1. ลูกจ้างผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตาม 1. ต้องทำงานเต็มเดือน โดยต้องเป็นการจ้างอันเนื่องมาจากการจ้างแรงงานซึ่งเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร 2.

0702/5922 | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)

จำนวนการจ้างงานผู้สูงอายุที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ต้องไม่มีจำนวนไม่เกิน 10% ของจำนวนลูกจ้างทั้งหมดที่ทำงานเต็มเดือนในประเทศไทยในแต่ละเดือนในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น โดยให้คำนวณหาจำนวนลูกจ้างผู้สูงอายุที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเป็นรายเดือน (คำนวณจากลูกจ้างเต็มเดือนที่มีอยู่โดยไม่จำกัดสัญชาติ และเมื่อคำนวณแล้วมีเศษ เศษของผลลัพธ์ตั้งแต่ 0. 5 ให้ปัดเศษขึ้นเป็นจำนวนเต็ม) 3.

กรณีผู้สูงอายุทำงานในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหลายแห่งในเวลาเดียวกัน ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่รับผู้สูงอายุเข้าทำงานก่อนเป็นผู้ได้รับสิทธิหักรายจ่ายได้ 2 เท่า 6.

08% ของยอดการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทั้งหมด หรือจ่ายภาษีเฉลี่ยคนละ 2. 81 ล้านบาทต่อปี ปัจจุบันกรมสรรพากร ปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ขั้นสูงสุดจาก 37% เหลือ 35% ช่วยลดภาระค่าภาษีให้คนกลุ่มนี้ประมาณ 5. 6% หากนับรวมคนที่มีรายได้สุทธิต่อปีเกินกว่า 2 ล้านบาทขึ้นไป มีจำนวนทั้งสิ้น 63, 503 ราย เสียภาษี 94, 875 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 47. 95% ของยอดจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ทั้งนี้กลุ่มรายได้สุทธิในช่วง 150, 001-300, 000 บาทต่อปี มีจำนวน 1. 63 ล้านคน กรมสรรพากรเก็บภาษีได้แค่ 9, 812 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนแค่ 4. 96% ของยอดการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ทางกรมสรรพากรเตรียมศึกษายกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับกลุ่มคนที่มีรายได้สุทธิต่อปีไม่เกิน 3 แสนบาท เนื่องจากการยกเว้นภาษีเดิมให้เฉพาะกลุ่มคนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 150, 000 บาทต่อปี ถ้ามาตรการนี้ผ่านความเห็นชอบ กรมสรรพากรเหลือคนที่มายื่นแบบเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจำนวน 1. 62 ล้านคน และมีกลุ่มคนที่ยื่นแบบฯ แต่ไม่ต้องจ่ายภาษีเพิ่มขึ้นเป็น 8. 17 ล้านคน

  • โปรแกรมบัญชี SMEMOVE วิธีการตั้งค่าการปิดบัญชีประจำปี
  • การยกเว้นเงินได้ให้ผู้สูงอายุ ไม่ต่ำกว่า 65 ปี | รับทำเงินเดือน รับทำบัญชี จดทะเบียนบริษัท
  • จ่ายภาษีประจําปี

จ้างผู้สูงอายุ สร้างงานช่วยประหยัดภาษี

จ่าย ภาษี ประจำ ปี 2

ThaiPublica > ประเด็นสืบสวน > ปี 2555 คนไทย 66 ล้าน เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3. 25 ล้านคน 197, 881 ล้านบาท 26 มิถุนายน 2014 พล. อ. ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ หัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ คสช. (กลาง) พล. ฉัตรชัย สาริกัลยะ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก รองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ คสช. (ขวา) มอบนโยบายผู้บริหารระดับสูงกระทรวงการคลัง และหน่วยงานในสังกัด วันที่ 1 มิถุนายน 2557 "ปฏิรูปโครงสร้างภาษี ไม่เพิ่มภาระให้ประชาชนที่มีรายได้น้อย แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม ลดอุปสรรค สนับสนุนการลงทุน อุดรูรั่วไหล ตอบสนองด้านงบประมาณ" เป็นนโยบายที่พล. ประจิน จั่นตอง ผู้บัญชาการทหารอากาศ หัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช. ) กล่าวในงานประชุมผู้บริหารระดับสูง กระทรวงการคลัง วันที่ 1 มิถุนายน 2557 เพื่อจัดทำเป็นโรดแมปเศรษฐกิจ เสนอ พล. ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. พิจารณา ภายในวันที่ 26 มิถุนายน 2557 โจทย์ปฏิรูปโครงสร้างภาษีที่หัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ คสช. ฝากให้เจ้าหน้าที่กระทรวงการคลังไปช่วยคิด ดูเหมือนจะอยู่ภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบของกรมสรรพากรเกือบทั้งหมด เพราะเป็นหน่วยงานหลักที่จัดเก็บรายได้ให้กับรัฐบาลมากที่สุด อย่างในปีงบประมาณ 2557 กรมสรรพากรได้รับมอบหมายให้เก็บภาษี 1, 890, 550 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 69.

กรณีตาม 1. และ 3. วิธีการและหลักเกณฑ์การจ่ายเงินปันผล และการจัดสรรเงินไว้เป็นทุนสำรอง บริษัทฯ มีหน้าที่จะต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของกรมสรรพากร 2. กรณีตาม 2. เมื่อบริษัทฯ จ่ายเงินปันผล สามารถพิจารณาภาระภาษีได้ดังต่อไปนี้ 2. 1 กรณีบริษัทฯ จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นราย บริษัท ช. ซึ่งเป็นบริษัทจำกัดที่ถือหุ้นในบริษัทฯ เกินกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงและบริษัทฯ มิได้ถือหุ้นในบริษัท ช. ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม บริษัทฯ ไม่มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับข้อ 5 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. ป. 4/2528 เรื่อง สั่งให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ลงวันที่ 26 กันยายน พ. 2528 กรณีบริษัท ช. รับเงินปันผลจากบริษัทฯ โดยบริษัท ช. ถือหุ้นในบริษัทฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียง และบริษัทฯ ไม่ได้ถือหุ้นในบริษัท ช. ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม หากบริษัท ช. ถือหุ้นไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามเดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมา จนถึงวันที่บริษัท ช.

ผู้เอาประกันหลายคนมักจะมีความเชื่อว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่อยากยกเลิกกรมธรรม์ประกันชีวิต ก็แค่หยุดส่งค่าเบี้ยประกันเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว นี่เป็นความคิดที่ผิดถนัด!

Untitled Document เลขที่หนังสือ: กค 0702/5922 วันที่: 20 สิงหาคม 2557 เรื่อง: ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการจ่ายเงินปันผล ข้อกฎหมาย: มาตรา 3 เตรส มาตรา 65 ทวิ (10) และมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร ข้อหารือ 1. บริษัทฯ ประกอบกิจการเกี่ยวกับการให้บริการบำบัดน้ำเสียในนิคมอุตสาหกรรมโดยไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ. ศ. 2520 2. บริษัทฯ มีผู้ถือหุ้นสองราย คือ บริษัท ช. ซึ่งถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนร้อยละ 51 และ (T) ซึ่งเป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศสิงคโปร์โดยไม่ได้ประกอบกิจการในประเทศไทย ถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวนร้อยละ 49 ทั้งนี้บริษัทฯ มิได้ถือหุ้นในบริษัท ช. ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมแต่อย่างใด 3. บริษัทฯ ทำการประกาศจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นปลายปี 2556 บริษัทฯ ขอหารือดังนี้ 1. บริษัทฯ สามารถจ่ายเงินปันผลจากกำไรสะสมทั้งหมดรวมกับกำไรสุทธิปลายปี หักสำรองตามกฎหมายแล้ว ได้หรือไม่ 2. เมื่อทำการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และบริษัทผู้ถือหุ้นไม่ต้องนำเงินปันผลไปคำนวณรวมเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษี ใช่หรือไม่ 3. หากมีข้อกฎหมายที่ห้ามจ่ายเงินปันผลจากกำไรสะสมทั้งหมดของบริษัทฯ และบริษัทฯ ทำการจ่ายไป บริษัทฯ จะมีความผิดใดบ้าง แนววินิจฉัย 1.

เอกสาร ที่ ใช้ แทน บัตร ประชาชน, 2024 | Sitemap