เหตุการณ์ สำคัญ ใน วัน มาฆบูชา - เหตุการณ์ สําคัญ ใน วัน มาฆบูชา ล่าสุด

เหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา ซึ่งในวันนั้นมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการคือ 1. พระสงฆ์ 1, 250 รูปที่พระพุทธองค์ได้ส่งไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาตามแว่นแคว้นต่างๆ ได้กลับมาเฝ้าพระพุทธเจ้าอย่างพร้อมเพรียงกันโดยมิได้นัดหมาย 2. พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นเอหิภิกขุที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เองทั้งสิ้น ซึ่งเรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา 3. พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นพระอรหันต์ คือผู้ได้อภิญญา 6 ข้อ 4. วันที่พระสงฆ์ทั้งหมดมาชุมนุมกันนี้ตรงกับวันเพ็ญเดือนมาฆะ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) ด้วยเหตุการณ์ประจวบกับ 4 อย่าง จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จาตุรงคสันนิบาต (มาจากศัพท์บาลี จตุ+องฺค+สนฺนิปาต แปลว่า การประชุมอันประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสี่ประการ) โดยประชุมกัน ณ วัดเวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว 9 เดือน (45 ปี ก่อนพุทธศักราช) เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยท่องเที่ยว ติดตาม @tourandservice click facebook twitter URANDSERVICE license no. 11/04924 สนใจทัวรส่วนตัว private tour ทัวร์ครอบครัว incentive group tour, เที่ยวแบบครอบครัว เที่ยวเป็นคณะ private ศูนย์รวมทัวร์ดีมีคุณภาพทั้งในและต่างประเทศ sport day, walk rally, car rally, boat rally สัมนาพัฒนาองค์กร คิดถึง tourandorganize คิดถึงความสุข นึกถึงเรา URANDSERVICE TEL: 0851635888 0852415888

เช็คความเข้าใจ ‘มาฆบูชา’ ความสำคัญ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต่างกับวันสำคัญอื่นๆ อย่างไร | กรุงเทพธุรกิจ | LINE TODAY

  • แบบ บ้าน ชั้น เดียว เรียบ ง่าย
  • ราคา ลํา ไย อบ แห้ง
  • วันมาฆบูชา...สำคัญอย่างไร ?
  • สาย นาฬิกา กุ ช ชี่
  • เหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา

เหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา

วันมาฆบูชา พระบรมศาสดาทรงประชุมพระสาวก ณ พระวิหารเวฬุวัน ได้เกิดเหตุอัศจรรย์ประกอบด้วยองค์ 4 คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 พระบรมศาสดาทรงประชุมพระสาวก ณ พระวิหารเวฬุวัน ได้เกิดเหตุอัศจรรย์ประกอบด้วยองค์ 4 ดังนี้ 1. เป็นวันพระขึ้น 15 ค่ำ ที่เราเรียกว่า"วัน อุโบสถ "พระจันทร์เต็มดวง ดวงจันทร์เสวย มาฆฤกษ์ 2. พระภิกษุ 1, 250 รูป มาประชุมกันโดยมิได้มีการนัดหมายทางวาจา กล่าวคือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้ใช้ให้ใครไปเรียกมา แต่ต่างองค์ต่างรู้ด้วยญาณทัศนะของท่าน แล้วก็ต่างองค์ก็ต่างมาจากแต่ละทิศ 3. พระภิกษุทั้งหมดนั้น ล้วนเป็นพระอรหันต์ ปราศจากกิเลศเครื่องเศร้าหมอง ทรงอภิญญา มีฤทธิ์ มีตาทิพย์ หูทิพย์ ระลึกชาติได้ รู้ใจผู้อื่น 4. พระภิกษุทั้งหมด ล้วนเป็นเอหิภิกขุ คือ ได้รับอุปสมบทจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อพระภิกษุทั้งหมดมาประชุมพร้อมกันแล้ว พระบรมศาสดาทรงประทานโอวาท ที่เรียกว่า"โอวาทปาติโมกข์"อันเป็นอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการ ในการเผยแผ่คำสอนของพระองค์ มีดังนี้ จุดโคมประทีปเป็นพุทธบูชา อุดมการณ์ คือ เป้าหมายสูงสุดของชีวิตชาวพุทธ และของชาวโลกทั้งโลก มีสามข้อ ดังนี้ 1. เกิดเป็นคนต้องอดทนจึงจะได้ดี ถ้าไม่ทนก็เอาดีไม่ได้ เพราะว่าพอเกิดมาก็เป็น ทุกข์ มาตั้งแต่เกิด เมื่อชีวิตเป็นทุกข์ก็ต้องทนอยู่สู้ต่อไป เพราะความอดทนเป็นเครื่องเผาผลาญกิเลสชั้นเยี่ยม 2.

ศ. 2501 การบูชาในเดือน8 หรือวันอาสาฬหบูชาจึงได้เริ่มมีขึ้นในประเทศไทยตามที่คณะสงฆมนตรีได้กำหนดให้วันนี้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยอย่างเป็นทางการเมื่อพ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรีได้มีมติให้เพิ่ม"วันอาสาฬหบูชา" เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธในประเทศไทยตามคำแนะนำของพระธรรมโกศาจารย์(ชอบอนุจารี) โดยได้ออกเป็นประกาศสำนักสังฆนายกเมื่อวันที่14 กรกฎาคมพ. 2501 กำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาพร้อมทั้งกำหนดพิธีกรรมทางศาสนาขึ้นอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกในประเทศไทยโดยให้มีพิธีปฏิบัติเทียบเท่ากับ"วันวิสาขบูชา" พิธีกรรมที่ศาสนิกชนปฏิบัติกันในวันอาสาฬหบูชานั้นไม่ต่างจากวันวิสาขบูชามากนักคือการทำบุญตักบาตรรักษาศีลเวียนเทียนฟังพระธรรมเทศนา ที่มา: กรมการศาสนา,

แปรง ลง คอน ซีล เลอ ร์

พระพุทธเจ้า ทุกๆพระองค์ทรงสอนเหมือนกันว่า"พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง"ทนไปเถิดจะได้ไปพระนิพพาน ถ้าไม่ทนก็ไม่ได้ไป 3. นักบวชผู้ฆ่าสัตว์อื่น เบียดเบียนสัตว์อื่น ไม่ชื่อว่าสมณะเลย ขณะที่ยังไปไม่ถึงนิพพาน ให้สงบเสงี่ยมเจียมตัว อย่าไปทำบาปเพิ่มอีกเพราะมี กฎแห่งกรรม ควบคุมอยู่ ถ้าก่อเวรเพิ่ม ไม่ว่าด้วยเรื่องอะไรก็ตาม แสดงว่าไม่อดทน ถ้าไม่อดทนก็ไปไม่ถึงพระนิพพาน สาธุชนไทยและต่างชาติร่วมพิธีตักบาตร มาฆบูชา พิธีจุดโคมประทีปเป็นพุทธบูชาในวัน มาฆบูชา พิธีจุดโคมประทีปในวัน มาฆบูชา หลักการ คือ กฎเกณฑ์สำคัญของชาวพุทธและของชาวโลกทั้งโลก ในการตัดสินใจว่าจะทำหรือไม่ทำอะไร ถ้าผิดหลักการก็ไม่ทำ แต่ถ้าไม่ผิดหลักการจึงค่อยทำมี 3 ข้อ คือ 1. ไม่ทำบาปทุกชนิด จะบาปมากหรือน้อยก็ไม่ทำ เพราะมีกฎแห่งกรรมคอยบังคับอยู่ ดังนั้นจะทำอะไรในชีวิตต้องถามตนเองก่อนว่า บาปไหม ถ้าบาปไม่ทำ 2. ทำความดีให้ถึงพร้อม ความดีอะไรที่มีอยู่ในโลกนี้ถ้ามีโอกาสต้องทำให้เต็มที่ เพราะความดีบางอย่าง เราเองก็ไม่มีโอกาสได้ทำ 3. กลั่นจิตของตนให้ใสตลอดเวลา หมั่นนั่ง สมาธิ (Meditation)ทุกวันไม่ให้ขาด เมื่อใจใสมากเข้าจึงจะเห็นพระนิพพานได้ พิธีเวียนประทักษิณในวัน มาฆบูชา วิธีการ คือ แนวทางปฏิบัติตน อันเป็นคุณลักษณะที่ดีของ ชาวพุทธและของชาวโทั้งโลก มี 6 ข้อ ดังนี้ 1.

เหตุการณ์ สําคัญ ใน วัน มาฆบูชา ล่าสุด

เอกสาร ที่ ใช้ แทน บัตร ประชาชน, 2024 | Sitemap